แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ ตัวอย่าง2D แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ ตัวอย่าง2D แสดงบทความทั้งหมด

วันพุธที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2551

2D Projection View Exercise1

2D Projection View Exercise1
As the picture below please show me a projection views of it's like a standard form
2D 3D

2D Basic Please Make a 6 Projection Drawing

"AutoCAD Didn't hard to learn"
Mr.Foamm
UKKHASIN KLOMCHITT
089-6320232




วันพุธที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2551

ANGLE BLOCK

ในการเขียนภาพให้ใช้คำสั่ง Line สร้างเส้นรอบรูปด้านนอก โดยเขียนเพียงข้างเดียว จะเป็นข้างซ้าย หรือ ข้างขวาก่อนก็ได้ จากนั้น ก็ Mirror ไปฝั่งตรงข้าม แล้ว Trim ให้เรียบร้อย จากนั้น Offset เส้นรอบรูปเข้าข้างใน 0.5 และ Fillet R=0.25 ตามรูปตัวอย่าง



ขั้นตอน
1.Line
เริ่มต้นที่ มุมล่างขวาของรูปจะไต้องป้อนค่าดังนี้
@6<180>
@3.25<90>
@1.25<0>
@3<-45 Enter "จะได้เส้นที่ 4 เส้นทะแยงยาว 3"

2. จากนั้น ใช้คำสั่ง Mirror สร้างภาพสะท้อนของเส้นที่ 2,3,4

3. จากนั้นใช้คำสั่ง Trim ตัดแต่งส่วนเกินให้เรียบร้อย

4. สร้างเส้นชุดในโดย Offset เส้นรอบรูปเข้าด้านในเป็นระยะ 0.5

5. ทำส่วนโค้งด้วยคำสั่ง Fillet ตามต้นแบบให้ R=0.25

จบ

"AutoCAD ไม่ยากอย่างที่คิด....ใช่มั้ยหล่ะครับ"
Mr.Foamm
UKKHASIN KLOMCHITT
089-6320232



วันอังคารที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2551

ตัวอย่างที่ 6

1. Basic Learnner ให้ใช้คำสั่ง Line, Circle
2. Intermed. Learnner ใช้คำสั่ง Rectangular

1. Use Line command
2.Start with coordinate 80,80
3.Next point is 310,80
4.Next point is 310,240
5.Next point is 80,240
6. again

Now we've ractangle and then go to put 4 circle on each angle
7.Circle
8.the center of circle position start at 110,110
9.Input R=15
Now we've got a circle , need to copy to another position
10.Use commands COpy
11.select the circle and use Center of Circle as base point
12.paste it to 3 positions are
210,110
280,110
110,210
Again

the End
"AutoCAD ไม่ยากอย่างที่คิด....ใช่มั้ยหล่ะครับ"
Mr.Foamm
UKKHASIN KLOMCHITT
089-6320232

วันเสาร์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2551

ตัวอย่างที่ 5

HOOK
สวัสดีครับ วันนี้เราลองมาเขียน hook กันนะครับ ถ้าดูจากแบบแล้วจะเห็นว่าภาพนี้มีจุดสำคัญที่เราควรสังเกตุอยู่ 3 ตำแหน่งคือ ที่วงกลม Dia 32 ที่อยู่ส่วนบน และส่วนโค้ง R38 ที่ส่วนล่าง ซึ่งทั้ง 2 มี Center ห่างกัน 203 เราร่างภาพขึ้นมาก็ได้แบบข้างล่างนี้




จากนั้นก็เขียนวงกลม D32 และ D76 โดยมี Center อยู่ร่วมกัน และ วงกลม R38 ที่เส้น Offset ลงไป203
แล้ว Offset เส้นแนวดิ่งไปทางขวา 19 จะได้ จุดตัดซึ่งเป็น Center ของวงกลม R89


ลากเส้นตรงจากจุดตัด (Intersection) ที่วงกลม D76 ไปสัมผัส(Tangent) กับวงกลม R89
และลากเส้นตรงสัมผัสกับวงกลม D76 ไปสัมผัสกับวงกลม R38
จากนั้นเขียนวงกลม R44 โดยมีร่วมจุด Quadrant กับวงกลม R38 และ R89 ดังรูป

Fillet R38 และ R6 จากนั้นก็ Trim ส่วนต่างๆให้เรียบร้อยก็เสร็จ


"AutoCAD ไม่ยากอย่างที่คิด....ใช่มั้ยหล่ะครับ"
Mr.Foamm
UKKHASIN KLOMCHITT
089-6320232

วันพุธที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2551

ตัวอย่างที่ 3 :Disc Plate
จากรูป Disc plate นะครับ จะเห็นว่ามีลักษณะเป็นวงกลม 2 วง มี Center ร่วมกัน มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 70 และ 230 ร่อง 4 ร่อง กว้าง 20 และทำโค้ง R10 ที่ปลาย 2 ข้าง
วิธีทำ
1. ใช้คำสั่ง Line เขียนเส้นตรง 2 เส้น ยาว 260 ตั้งฉากกัน โดยมีจุดตัดอยู่ที่ Mid.Point ของแต่ละเส้น
2. จากนั้น เขียน วงกลม 2 วง ด้วยคำสั่ง Circle โดยให้ Center ของทั้ง 2 วง อยู่บนจุดตัดของเส้นตรงตัดกันก่อนหน้านี้
3. เขียนร่องขนาด 20x30 ทำโค้ง R10 โดยร่างแบบ(เส้นบาง) ดังรูปด้านล่าง แล้วใช้คำสั่ง PoLyline เริ่มต้นโดยคลิกจุดที่ 1 แล้วลากไปคลิกที่จุด 2 จากนั้น กด a เพื่อใช้ คำสั่งย่อย Arc แล้วลากเม้าส์ดิ่งลงไปคลิกที่จุด 3 (เราจะได้ส่วนโค้ง) ต่อไปเป็นเส้นตรง โดย กด L เพื่อกลับมาใช้คำสั่งย่อยในการลากเส้นตรง ให้ลากไปคลิกที่จุด 4 แล้วกด a อีกครั้ง เพื่อเขียนส่วนโค้ง แล้วไปคลิกที่ จุดที่ 1 จากนั้นออกจากคำสั่ง
4. ดูรูปด้านล่าง ใช้คคำสั่ง Array ในการจัดเรียงแบบวงกลมล้อมรอบจุดศูนย์กลาง โดบใช้การ Array แบบ Pola แล้วคลิกที่ เลือกวัตถุหมายเลข 1 คือ ร่องที่เราเพิ่งสร้างเสร็จ , คลิกเลือก Center of Array ที่ หมายเลข 2 ให้กำหนดจำนวนวัตถุเป็น 4 ชิ้น และมีมุมรองรับ 360 องศาจะได้ Disc Plate
สำหรับผู้เริ่มต้น ลองๆ ไปเขียนกันดูนะครับ
"AutoCAD ไม่ยากอย่างที่คิด....ใช่มั้ยหล่ะครับ"
Mr.Foamm
UKKHASIN KLOMCHITT
089-6320232

วันอาทิตย์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2551

ตัวอย่างที่ 2

"AutoCAD ไม่ยากอย่างที่คิด....ใช่มั้ยหล่ะครับ"
Mr.Foamm
UKKHASIN KLOMCHITT
089-6320232

วันพฤหัสบดีที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551

ตัวอย่างที่ 1 เขียนรูปด้วยคำสั่ง Line

รูปที่ 1 ลักษณะของภาพ
จะเริ่มต้นเขียนรูปนี้โดยให้มุมล่างซ้ายของภาพอยู่ที่จุด x,y เป็น 0,0 จะได้ค่า Coordinate ของภาพเป็นดังรูปที่ 2
รูปที่ 2 Coordinate ขแงภาพ
ถ้าเราใช้ระบบสัมบูรณ์(Absolute) และใช้คำสั่ง Line โดยป้อนคำสั่งที่ Command Line หรือ คลิก แล้วป้อนค่า Coordinate ตามจุดต่างๆที่ได้เสนอไปแล้ว โดยหลังจากจุด X=0,Y=150 แล้ว สามารถ ป้อนคำสั่ง Close หรือ ตัว c จะเป็นพิมพ์เล็กหรือ พิมพ์ใหญ่ก็ได้ เพื่อปิดเส้น

ต่อมา สร้างวงกลมทั้ง 2 วง โดยใช้คำสั่ง Circle หรือ คลิกที่ ปุ่ม แล้วกำหนดให้ Center อยู่ที่ Coordinate 50,25 และ กำหนด รัศมี r เป็น 25 จะได้วงกลม ซ้ายมือ Dia=50 เป็นอันครบกระบวนการ

จากนั้น กดปุ้ม Enter อีกครั้ง เพื่อเข้าสู่คำสั่งล่าสุดที่ใช้ไป ก๊คือ Circle แล้วกำหนดให้ Center อยู่ที่ Coordinate 150,37.5 และ กำหนด รัศมี r เป็น 20 จะได้วงกลม ซ้ายมือ Dia=40
หมายเหตุ : จากรูปที่ 1 Center ของวงกลม Dia 40 จริงๆที่เราป้อนเข้าไปคือ 150,37.5 แต่ในแบบแสดงค่าระยะตามแนวแกน Y=38 เนื่องจาก ผมกำหนดให้ Precision ไม่มีทศนิยม
อาจารย์โฟม
อัขศิลศ์ กล่อมจิตต์
089-6320232


AutoCAD Training By Mr.Foamm

สวัสดีครับ ท่านผู้สนใจศึกษา AutoCAD และยินดีต้อนรับสู่บ้านของเรา ผมทำเทรนนิ่ง การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อสนับสนุนงานออกแบบ และเขียนแบบที่ชื่อ AutoCAD นี้ เนื่องจากเล็งเห็นความสำคัญของ "ความสามารถของบุคคลากรในวงการงานช่าง ในบ้านเรา" เพราะ 99% ของการทำงานในบ้านเมืองเรา ใช้ AutoCAD แล้วถ้าหากเราอยากได้งานทำ แต่เขียนแบบด้วย AutoCAD ไม่เป็น แล้วใครจะรับเข้าทำงานจริงมั้ยครับ ทุกวันนี้ผมก็สอนให้กับผู้สนใจในราคาที่ถูกแสนถูก ก็ได้แต่หวังว่าจะช่วยยกระดับความสามารถให้แก่ผู้ที่รักความก้าวหน้าได้บ้าง และ ช่วยให้หลายๆคนได้งานทำ



เวลาเรียน



09:00 - 12:00น.

13:00 - 16:00น.

18:00 - 21:00น.


21:00 - 24:00น.

Contact us:

อาจารย์โฟม
Mr.Ratthawisutth Klomchitt
089-6320232 และ 085-0339995

cmat@hotmail.co.th

สถิติผู้เยี่ยมชม

free counters

จำนวนการดูหน้าเว็บรวม

คอร์ส AutoCAD 2D สำหรับผู้เริ่มต้น

คอร์ส AutoCAD 2D สำหรับผู้เริ่มต้น
เริ่มต้นเรียนรู้ด้วยความถูกต้อง เนื้อหามากมายที่ไม่มีที่ไหน ไม่มีในหนังสือ จากประสบการณ์ค้นความ23ปี