วันอังคารที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2553

รวมคีย์ลัดของ AutoCAD

3A,        *3DARRAY
3DMIRROR,  *MIRROR3D
3DNavigate,*3DWALK
3DO,       *3DORBIT
3DW,       *3DWALK
3F,        *3DFACE
3M,        *3DMOVE
3P,        *3DPOLY
3R,        *3DROTATE
A,         *ARC
AC,        *BACTION
ADC,       *ADCENTER
AECTOACAD, *-ExportToAutoCAD
AA,        *AREA
AL,        *ALIGN
3AL,       *3DALIGN
AP,        *APPLOAD
APLAY,     *ALLPLAY
AR,        *ARRAY
-AR,       *-ARRAY
ARR,       *ACTRECORD
ARM,       *ACTUSERMESSAGE
-ARM,      *-ACTUSERMESSAGE
ARU,       *ACTUSERINPUT
ARS,       *ACTSTOP
-ARS,       *-ACTSTOP
ATI,       *ATTIPEDIT
ATT,       *ATTDEF
-ATT,      *-ATTDEF
ATE,       *ATTEDIT
-ATE,      *-ATTEDIT
ATTE,      *-ATTEDIT
B,         *BLOCK
-B,        *-BLOCK
BC,        *BCLOSE
BE,        *BEDIT
BH,        *HATCH
BO,        *BOUNDARY
-BO,       *-BOUNDARY
BR,        *BREAK
BS,        *BSAVE
BVS,       *BVSTATE
C,         *CIRCLE
CAM,       *CAMERA
CH,        *PROPERTIES
-CH,       *CHANGE
CHA,       *CHAMFER
CHK,       *CHECKSTANDARDS
CLI,       *COMMANDLINE
COL,       *COLOR
COLOUR,    *COLOR
CO,        *COPY
CP,        *COPY
CT,        *CTABLESTYLE
CUBE,      *NAVVCUBE
CYL,       *CYLINDER
D,         *DIMSTYLE
DAL,       *DIMALIGNED
DAN,       *DIMANGULAR
DAR,       *DIMARC
JOG,       *DIMJOGGED
DBA,       *DIMBASELINE
DBC,       *DBCONNECT
DC,        *ADCENTER
DCE,       *DIMCENTER
DCENTER,   *ADCENTER
DCO,       *DIMCONTINUE
DDA,       *DIMDISASSOCIATE
DDI,       *DIMDIAMETER
DED,       *DIMEDIT
DI,        *DIST
DIV,       *DIVIDE
DJL,       *DIMJOGLINE
DJO,       *DIMJOGGED
DL,        *DATALINK
DLI,       *DIMLINEAR
DLU,       *DATALINKUPDATE
DO,        *DONUT
DOR,       *DIMORDINATE
DOV,       *DIMOVERRIDE
DR,        *DRAWORDER
DRA,       *DIMRADIUS
DRE,       *DIMREASSOCIATE
DRM,       *DRAWINGRECOVERY
DS,        *DSETTINGS
DST,       *DIMSTYLE
DT,        *TEXT
DV,        *DVIEW
DX,        *DATAEXTRACTION
E,         *ERASE
ED,        *DDEDIT
EL,        *ELLIPSE
ER,        *EXTERNALREFERENCES
ESHOT,     *EDITSHOT
EX,        *EXTEND
EXIT,      *QUIT
EXP,       *EXPORT
EXT,       *EXTRUDE
F,         *FILLET
FI,        *FILTER
FREEPOINT, *POINTLIGHT
FSHOT,     *FLATSHOT
G,         *GROUP
-G,        *-GROUP
GD,        *GRADIENT
GEO,       *GEOGRAPHICLOCATION
GR,        *DDGRIPS
H,         *HATCH
-H,        *-HATCH
HE,        *HATCHEDIT
HI,        *HIDE
I,         *INSERT
-I,        *-INSERT
IAD,       *IMAGEADJUST
IAT,       *IMAGEATTACH
ICL,       *IMAGECLIP
IM,        *IMAGE
-IM,       *-IMAGE
IMP,       *IMPORT
IN,        *INTERSECT
INF,       *INTERFERE
IO,        *INSERTOBJ
QVD,       *QVDRAWING
QVDC,      *QVDRAWINGCLOSE
QVL,       *QVLAYOUT
QVLC,      *QVLAYOUTCLOSE
J,         *JOIN
L,         *LINE
LA,        *LAYER
-LA,       *-LAYER
LAS,       *LAYERSTATE
LE,        *QLEADER
LEN,       *LENGTHEN
LI,        *LIST
LINEWEIGHT, *LWEIGHT
LMAN,      *LAYERSTATE
LO,        *-LAYOUT
LS,        *LIST
LT,        *LINETYPE
-LT,       *-LINETYPE
LTYPE,     *LINETYPE
-LTYPE,    *-LINETYPE
LTS,       *LTSCALE
LW,        *LWEIGHT
M,         *MOVE
MA,        *MATCHPROP
MAT,       *MATERIALS
ME,        *MEASURE
MI,        *MIRROR
ML,        *MLINE
MLA,       *MLEADERALIGN
MLC,       *MLEADERCOLLECT
MLD,       *MLEADER
MLE,       *MLEADEREDIT
MLS,       *MLEADERSTYLE
MO,        *PROPERTIES
MOTION,    *NAVSMOTION
MOTIONCLS, *NAVSMOTIONCLOSE
MS,        *MSPACE
MSM,       *MARKUP
MT,        *MTEXT
MV,        *MVIEW
NORTH,     *GEOGRAPHICLOCATION
NORTHDIR,  *GEOGRAPHICLOCATION
NSHOT,     *NEWSHOT
NVIEW,     *NEWVIEW
O,         *OFFSET
OP,        *OPTIONS
ORBIT,     *3DORBIT
OS,        *OSNAP
-OS,       *-OSNAP
P,         *PAN
-P,        *-PAN
PA,        *PASTESPEC
PARAM,     *BPARAMETER
PARTIALOPEN, *-PARTIALOPEN
PE,        *PEDIT
PL,        *PLINE
PO,        *POINT
POFF,       *HIDEPALETTES
POL,       *POLYGON
PON,       *SHOWPALETTES
PR,        *PROPERTIES
PRCLOSE,   *PROPERTIESCLOSE
PROPS,     *PROPERTIES
PRE,       *PREVIEW
PRINT,     *PLOT
PS,        *PSPACE
PSOLID,    *POLYSOLID
PTW,       *PUBLISHTOWEB
PU,        *PURGE
-PU,       *-PURGE
PYR,       *PYRAMID
QC,        *QUICKCALC
QCUI,      *QUICKCUI
R,         *REDRAW
RA,        *REDRAWALL
RC,        *RENDERCROP
RE,        *REGEN
REA,       *REGENALL
REC,       *RECTANG
REG,       *REGION
REN,       *RENAME
-REN,      *-RENAME
REV,       *REVOLVE
RO,        *ROTATE
RP,        *RENDERPRESETS
RPR,       *RPREF
RR,        *RENDER
RW,        *RENDERWIN
S,         *STRETCH
SC,        *SCALE
SCR,       *SCRIPT
SE,        *DSETTINGS
SEC,       *SECTION
SET,       *SETVAR
SHA,       *SHADEMODE
SL,        *SLICE
SN,        *SNAP
SO,        *SOLID
SP,        *SPELL
SPL,       *SPLINE
SPLANE,    *SECTIONPLANE
SPLAY,     *SEQUENCEPLAY
SPE,       *SPLINEDIT
SSM,       *SHEETSET
ST,        *STYLE
STA,       *STANDARDS
SU,        *SUBTRACT
T,         *MTEXT
-T,        *-MTEXT
TA,        *TABLET
TB,        *TABLE
TH,        *THICKNESS
TI,        *TILEMODE
TO,        *TOOLBAR
TOL,       *TOLERANCE
TOR,       *TORUS
TP,        *TOOLPALETTES
TR,        *TRIM
TS,        *TABLESTYLE
UC,        *UCSMAN
UN,        *UNITS
-UN,       *-UNITS
UNI,       *UNION
V,         *VIEW
VGO,       *VIEWGO
VPLAY,     *VIEWPLAY
-V,        *-VIEW
VP,        *DDVPOINT
-VP,       *VPOINT
VS,       *VSCURRENT
VSM,       *VISUALSTYLES
-VSM,      *-VISUALSTYLES
W,         *WBLOCK
-W,        *-WBLOCK
WE,        *WEDGE
WHEEL,     *NAVSWHEEL
X,         *EXPLODE
XA,        *XATTACH
XB,        *XBIND
-XB,       *-XBIND
XC,        *XCLIP
XL,        *XLINE
XR,        *XREF
-XR,       *-XREF
Z,         *ZOOM

; The following are alternative aliases and aliases as supplied
;  in AutoCAD Release 13.

AV,        *DSVIEWER
CP,        *COPY
DIMALI,    *DIMALIGNED
DIMANG,    *DIMANGULAR
DIMBASE,   *DIMBASELINE
DIMCONT,   *DIMCONTINUE
DIMDIA,    *DIMDIAMETER
DIMED,     *DIMEDIT
DIMTED,    *DIMTEDIT
DIMLIN,    *DIMLINEAR
DIMORD,    *DIMORDINATE
DIMRAD,    *DIMRADIUS
DIMSTY,    *DIMSTYLE
DIMOVER,   *DIMOVERRIDE
LEAD,      *LEADER
TM,        *TILEMODE

; Aliases for Hyperlink/URL Release 14 compatibility
SAVEURL, *SAVE
OPENURL,   *OPEN
INSERTURL, *INSERT

; Aliases for commands discontinued in AutoCAD 2000:
AAD,        *DBCONNECT
AEX,        *DBCONNECT
ALI,        *DBCONNECT
ASQ,        *DBCONNECT
ARO,        *DBCONNECT
ASE,        *DBCONNECT
DDATTDEF,   *ATTDEF
DDATTEXT,   *ATTEXT
DDCHPROP,   *PROPERTIES
DDCOLOR,    *COLOR
DDLMODES,   *LAYER
DDLTYPE,    *LINETYPE
DDMODIFY,   *PROPERTIES
DDOSNAP,    *OSNAP
DDUCS,      *UCS

; Aliases for commands discontinued in AutoCAD 2004:
ACADBLOCKDIALOG,  *BLOCK
ACADWBLOCKDIALOG, *WBLOCK
ADCENTER,         *ADCENTER
BMAKE,            *BLOCK
BMOD,             *BLOCK
BPOLY,            *BOUNDARY
CONTENT,          *ADCENTER
DDATTE,           *ATTEDIT
DDIM,             *DIMSTYLE
DDINSERT,         *INSERT
DDPLOTSTAMP,      *PLOTSTAMP
DDRMODES,         *DSETTINGS
DDSTYLE,          *STYLE
DDUCS,            *UCSMAN
DDUCSP,           *UCSMAN
DDUNITS,          *UNITS
DDVIEW,           *VIEW
DIMHORIZONTAL,    *DIMLINEAR
DIMROTATED,       *DIMLINEAR
DIMVERTICAL,      *DIMLINEAR
DOUGHNUT,         *DONUT
DTEXT,            *TEXT
DWFOUT,           *PLOT
DXFIN,            *OPEN
DXFOUT,           *SAVEAS
PAINTER,          *MATCHPROP
PREFERENCES,      *OPTIONS
RECTANGLE,        *RECTANG
SHADE,            *SHADEMODE
VIEWPORTS,        *VPORTS

; Aliases for commands discontinued in AutoCAD 2007:
RMAT,      *MATERIALS
FOG,       *RENDERENVIRONMENT
FINISH,    *MATERIALS
SETUV,     *MATERIALMAP
SHOWMAT,   *LIST
RFILEOPT,  *RENDERPRESETS
RENDSCR,   *RENDERWIN

; Aliases for commands discontinued in AutoCAD 2009:
DASHBOARD,          *RIBBON
DASHBOARDCLOSE,     *RIBBONCLOSE

วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2553

สมุดภาพ 2

DSC09521 

ช่างติ่ง 026 (โยธา มช. เกียร์31) หจก.เทพมุนี  จ.แม่ฮ่องสอน

DSC09522

ตั้ม ว่าที่วิศวกร จากรั้วราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

DSC09269

เคนคุง บัณฑิต หนุ่มจากรั้ว มช. ที่ข้ามสายงานมาช่วยงานวิศวกรรมโยธาแม้จะไม่ได้สำเร็จการศึกษามาทางโยธา  แต่ความสามารถทางด้านแบบวิศวกรรมของ เคนคุง นั้น นับว่ายอดเยี่ยมเลยทีเดียวครับ

อยู่ระหว่างการขออนุญาติ

พี่เอ มหาบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มาเรียนเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเดินทางไปศึกษาต่อ ณ. ประเทศออสเตเลีย

DSC09863DSC09862

น้องท็อป ว่าที่วิศวกรโยธา จากรั้วมหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ
จ.เชียงใหม่ อาจารย์บอกว่าให้หาที่เรียนรู้การใช้งาน AutoCAD เพื่อเติมจาก
การเรียนในชั้นเรียน เด็กดีก็ต้องเชื่อฟังครู อาจารย์สิครับ

วันพฤหัสบดีที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553

ใบรายการเนื้อหาในการเรียน : การเขียนแบบสถาปัตยกรรมด้วยAutoCAD

ใบเนื้อหาการเขียนแบบก่อสร้างสถาปัตยกรรมด้วย AutoCAD กับอาจารย์โฟม
ระยะเวลาในการเรียน : 30ชั่วโมง (เรียน 10ครั้งๆ ละ 3ชั่วโมง)
ผู้สอน : นายรัฐวิสุทธิ์ กล่อมจิตต์ (อาจารย์โฟม) โทร.089-6320232
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วัตถุประสงค์
1. เข้าใจการใช้ลักษณะการใช้ AutoCAD
2. สามารถเขียนแปลน รูปด้าน และรูปตัดของบ้านได้
3. สามารถสร้างเครื่องหมายสัญลักษณ์กำกับแบบได้
4. สามารถปรับแต่งและกำหนดขนาดให้เหมาะสมกับมาตราส่วนต่างๆ
5. สามารถพิมพ์ออกเป็นไฟล์ .PDF ได้
ครั้งที่ 1 รู้จักแบบสถาปัตยกรรม และ เขียนแปลน
- การอ่านแบบ ทำความเข้าใจกับแบบ
- เรียนรู้หลักการเขียนแบบ
- องค์ประกอบของแบบสถาปัตยกรรม
- สัญลักษณ์กำกับแบบ
- เขียนแปลน
ครั้งที่ 2 เขียนแปลน และ กำหนดขนาด
- สร้างบล็อกของสัญลักษณ์กำกับแบบ
- กำหนดสัญลักษณ์บนแปลน
- กำหนดขนาดแปลนตามมาตราส่วนที่ถูกต้อง
ครั้งที่ 3 เทคนิคการเขียนภาพตัดด้วย AutoCAD
- เรียนรู้หลักการตัด และ เทคนิคการเขียนภาพตัด
- เขียนภาพตัดตามแนว A - A
ครั้งที่ 4 เทคนิคการเขียนรูปตัดด้วย AutoCAD (ต่อ)
- เขียนภาพตัดตามแนว B - B
- กำหนดขนาดภาพตัด A – A
- กำหนดขนาดภาพตัด B – B
- กำหนดสัญลักษณ์กำกับแบบ
ครั้งที่ 5 การเขียนรูปด้านแต่ละด้านด้วย AutoCAD
- เรียนรู้แนวคิดในการในการเชื่อมโยงเส้นอ้างอิง เพื่อถ่ายทอดระยะต่างๆ
- เขียนรูปด้าน โดยเรียงลำดับ ด้านหน้า ด้านขวา
ครั้งที่ 6 การเขียนรูปด้านแต่ละด้านด้วย AutoCAD (ต่อ)
- เขียนรูปด้าน โดยเรียงลำดับ ด้านหลัง ด้านซ้าย และ และแปลนหลังคา
- กำหนดสัญลักษณ์กำกับแบบ
- ใส่กรอบ ตามสเกล
ครั้งที่ 7 การเขียนแปลนโครงสร้างด้วย AutoCAD
- เรียนรู้ และ ทำความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนแปลนโครงสร้าง
- เขียนแปลนฐานราก
- เขียนแปลนโครงสร้างพื้น
- เขียนแปลนโครงสร้างหลังคา
- กำหนดสัญลักษณ์กำกับแบบ
ครั้งที่ 8 การเขียนแปลนระบบไฟฟ้าด้วย AutoCAD
- เรียนรู้ และ ทำความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนแปลนระบบไฟฟ้าในบ้าน
- สร้างบล็อกระบบไฟฟ้า
- กำหนดสัญลักษณ์กำกับแบบแปลนระบบไฟฟ้า
ครั้งที่ 9 การเขียนแปลนระบบสุขาภิบาลด้วย AutoCAD
- เรียนรู้ และ ทำความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนแปลนระบบสุขาภิบาลในบ้าน
- สร้างบล็อกระบบสุขาภิบาล
- กำหนดสัญลักษณ์กำกับแบบแปลนระบบสุขาภิบาล
ครั้งที่ 10 การพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์หรือออกเป็นไฟล์ .PDF
- ทำความเข้าใจในแนวคิดของการพิมพ์
- การตั้งค่า PLOT STYLE
- การตั้งค่าในการพิมพ์
- การตั้งค่าเครื่องพิมพ์
- การตั้งค่าการพิมพ์ออกเป็นไฟล์ .PDF

ใบรายการเนื้อหาในการเรียน : การใช้โปรแกรมAutoCAD พื้นฐาน (เขียนแบบทั่วไป)

การใช้โปรแกรม AutoCAD พื้นฐาน
ใบรายการเนื้อหาในการเรียน : การใช้โปรแกรมAutoCAD 2มิติเบื้องต้น(เขียนแบบทั่วไป)
ระยะเวลาในการเรียน : 30ชั่วโมง (เรียน 10ครั้งๆ ละ 3ชั่วโมง)
ผู้สอน : นายรัฐวิสุทธิ์ กล่อมจิตต์ (อาจารย์โฟม) โทร.089-6320232
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วัตถุประสงค์
1. เข้าใจการใช้ลักษณะการใช้ AutoCAD
2. สามารถประยุกต์หลักคณิตศาสตร์เพื่อใช้ระบบออกคำสั่งได้
3. สามารถใช้ AutoCAD ได้อย่างคล่องแคล่ว
4. สามารถปรับแต่งและกำหนดขนาด
5. สามารถพิมพ์ออกเป็นไฟล์ .PDF ได้
ครั้งที่ 1 แนะนำให้รู้จักโปรแกรมเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ AutoCAD
- การเรียกใช้โปรแกรม AutoCAD
- ส่วนประกอบบนหน้าจอของโปรแกรม AutoCAD
- การสร้างพื้นที่ทำงาน(Workspace)
- วิธีการปรับสภาพแวดล้อมใน AutoCAD ให้เหมาะสมกับการใช้งาน
- การปรับค่า Object Snap
- การปรับค่าของ Cross-Hair
- ลักษณะการใช้งานของปุ่ม Function Key ต่างๆ
- ลักษณะการใช้งานคีย์บอร์ด(Keyboard)และเมาส์(Mouse)ร่วมกับโปรแกรม AutoCAD
- แนวคิดเกี่ยวกับระบบพิกัดของผู้ใช้งาน(UCS : User Co-ordinate System)
- ระบบพิกัดแบบสัมบูรณ์ Absolute Co-ordinate System
- ระบบพิกัดแบบสัมพัทธ์ Relative Co-ordinate System
- ระบบพิกัดแบบสัมพัทธ์แบบโพล่า Polar Relative Co-ordinate System
- แนวคิดของระบบมุม การหมุน และกฎมือขวา
- การกำหนดขอบเขตในการเขียนภาพ(Limit)
- หน่วยวัดที่ใช้
- การตั้งค่าระยะห่างของจุดกริด (Grid)และสแน็ป(Snap)
- แนวคิดและลักษณะทั่วไปของวัตถุ
- จุดเกาะ (Grip point)
- การเรียกใช้คำสั่งทาง Menu Bar
- การเรียกใช้คำสั่งทาง Button Command
- การเรียกใช้คำสั่งทาง Command Line
- การแก้ไขข้อผิดพลาดในขณะใช้คำสั่ง
- การเลือกวัตถุ (SELECTION)
- การใช้คำสั่ง ย่อ/ขยายมุมมอง(ZOOM)
- การควบคุมการแสดงผลบนหน้าจอ(ZOOM) การเลื่อนมุมมองบนหน้าจอด้วยเม้าส์(MOUSE)
- การเลือกใช้ออฟเจ็คท์สแน๊ป(Object snap) และออโต้สแน๊ป (Auto snap)
- แบบทดสอบความเข้าใจเรื่องระบบพิกัดโดยใช้คำคำสั่ง
- การใช้คำสั่ง line เพื่อเขียนภาพที่ประกอบด้วยเส้นตรง
ครั้งที่ 2 เขียนภาพด้วยคำสั่งพื้นฐาน
- เรียนรู้คำสั่ง LINE, RECTANGLE แนวคิด, คุณสมบัติ, ทำความเข้าใจในการออกคำสั่ง
- ใช้คำสั่ง LINE, RECTANGLE ร่วมกับ OTRACT, AUTOSNAP
- ทดสอบความเข้าใจในการใช้คำสั่ง LINE, CIRCLE, RECTANGLE
ครั้งที่ 3 แนะนำให้รู้จักโปรแกรมเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ AutoCAD
- เรียนรู้คำสั่ง CIRCLE, ELLIPSE, ARC, POLYGON, ARC, แนวคิด, คุณสมบัติ, ทำความเข้าใจในการออกคำสั่ง
- ใช้คำสั่ง CIRCLE, ELLIPSE, ARC, POLYGON, ARC, ร่วมกับ OTRACT, AUTOSNAP
- ทดสอบความเข้าใจในการใช้คำสั่ง ELLIPSE, ARC, POLYGON
ครั้งที่ 4 กลุ่มคำสั่งในการ แก้ไข ปรับแต่ง
- เรียนรู้แนวคิดในการใช้คำสั่ง OFFSET, EXTEND, STRECH, TRIM, FILLET, CHAMFER,
- ใช้คำสั่ง OFFSET, EXTEND, STRECH, TRIM, FILLET, CHAMFER,
- ทดสอบความเข้าใจในการใช้คำสั่ง OFFSET, EXTEND, STRECH, TRIM, FILLET, CHAMFER,
ครั้งที่ 5 กลุ่มคำสั่งที่ใช้ในการทำซ้ำ
- เรียนรู้แนวคิดในการใช้คำสั่ง COPY,ROTATE, MIRROR, ARRAY, MOVE,
- ใช้คำสั่ง COPY,ROTATE, MIRROR, ARRAY, MOVE,
- ทดสอบความเข้าใจในการใช้คำสั่ง COPY, ROTATE, MIRROR, ARRAY, MOVE,
ครั้งที่ 6 การกำหนดขนาด(DIMENSION) และการกำหนดมาตราส่วน(SCALE)
- เรียนรู้แนวคิดในการกำหนดขนาด รูปแบบการกำหนดขนาด
- เรียนรู้แนวคิดในการกำหนดมาตราส่วน การปรับมาตราส่วน
- ใช้คำสั่งในการกำหนดขนาด รูปแบบการกำหนดขนาด เทคนิคการปรับมาตราส่วน
- ทดสอบความเข้าใจในการจัดรูปแบบการกำหนดขนาด รูปแบบการกำหนดขนาด
ครั้งที่ 7 การเขียนข้อความในโปรแกรม AutoCAD
- ทำความเข้าใจกับแนวคิดของการเขียนข้อความลงในโปรแกรม AutoCAD
- ใช้คำส่งในการเขียนข้อความและปรับแต่งรูปแบบเบื้องต้น
- ฝึกเขียนข้อความ
ครั้งที่ 8 การฉายภาพด้วยโปรแกรม AutoCAD
- การฉายภาพอย่างง่ายด้วยโปรแกรม AutoCAD
- เทคนิคการฉายภาพ
- การสร้างพื้นที่ทำงาน(Workspace)
ครั้งที่ 9 การเขียนภาพที่ซับซ้อนแบบไอโซเมตริก
- เขียนภาพที่ซับซ้อนในแบบไอโซเมตริก
- ฝึกปรับมุมมองที่ซับซ้อน
- ใช้เทคนิคในการควบคุม Function Key ช่วยในการเลือกวัตถุ
ครั้งที่ 10 การพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์หรือออกเป็นไฟล์ .PDF
- ทำความเข้าใจในแนวคิดของการพิมพ์
- การตั้งค่า PLOT STYLE
- การตั้งค่าในการพิมพ์
- การตั้งค่าเครื่องพิมพ์
- การตั้งค่าการพิมพ์ออกเป็นไฟล์ .PDF

ผู้สอน : นายรัฐวิสุทธิ์ กล่อมจิตต์ (อาจารย์โฟม) โทร.089-6320232

วันศุกร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2553

AutoCAD return to MAC

AutoCAD return to MAC"AutoCAD didn't harder than yours" อาจารย์โฟม RATTHAWISUTTH KLOMCHITT 089-6320232


หลังจากที่ห่างหายมาเกือบ 20 ปี คราวนี้ Autodesk เจ้าของโปรแกรม AutoCAD ก็หันมาปัดฝุ่นการพัฒนาโปรแกรม AutoCAD ที่สามารถทำงานบนระบบปฏบัิติการ MacinTosh โดยรุ่นสุดท้ายก่อนหยุดการพัฒนาคือ autocad release 12 เมื่อปี 1992 โดยคราวนี้ว่ากันว่าสาวก Apple จะสามารถแก้ไขงาน และ แชร์งานกันได้ แบบ Real time และ ที่สำคัญ On mobile เพราะจะสามารถทำงานบน IPad และ Iphone งานนี้ Microsoftจะโดนน็อคมั้ยนี่ เพราะงาน Graphic design ก็ยังด้อยกว่า Apple นี่จะโดนแย่งตลาด Engineering Design อีก คราวนี้ก็เหลือแต่ Office ที่กำลังโดน Open source ไล่หลังมาด้วย Open office...เฮ้อ..คิดแล้วเหนื่อยแทน...



AutoCAD's Timeline



•Version 1.0 (Release 1) - December 1982

•Version 1.2 (Release 2) - April 1983

•Version 1.3 (Release 3) - August 1983

•Version 1.4 (Release 4) - October 1983

•Version 2.0 (Release 5) - October 1984

•Version 2.1 (Release 6) - May 1985

•Version 2.5 (Release 7) - June 1986

•Version 2.6 (Release - April 1987

•Release 9 - September 1987

•Release 10 - October 1988

•Release 11 - October 1990

•Release 12 - June 1992 (last release for Apple Macintosh)

•Release 13 - November 1994 (last release for Unix, MS-DOS and Windows 3.11)

•Release 14 - February 1997

•AutoCAD 2000 (R15.0) - March 1999

•AutoCAD 2000i (R15.1)- July 2000

•AutoCAD 2002 (R15.6) - June 2001

•AutoCAD 2004 (R16.0) - March 2003

•AutoCAD 2005 (R16.1) - March 2004

•AutoCAD 2006 (R16.2) - March 2005

•AutoCAD 2007 (R17.0) - March 2006

•AutoCAD 2008 (R17.1) - March 2007

วันอังคารที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2553

เครื่องหมายกำกับแปลน

เอามาให้ใช้กันครับ ดาวน์โหลด กันเลยครับ
http://www.4shared.com/photo/HV9jhJTS/View_Sign.html

 

"AutoCAD didn't harder than yours" อาจารย์โฟม RATTHAWISUTTH KLOMCHITT 089-6320232

วันอาทิตย์ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2553

กรอบกระดาษ เอามาแจกให้ใช้ฟรีๆครับ


หลายๆท่านอยากได้ กรอบกระดาษขนาดต่างๆกัน ผมเลยทำมาให้ครับ
สามารถ ดับเบิ้ลคลิกแล้วแก้ไขรายการได้เลยครับ ใช้ง่ายๆ สบายๆ เลยครับ
ลอง
Download ไปใช้กันนะครับ มีปัญหาอะไรก็โทรมาสอบถามกันได้ครับ


















A4 Title Block.dwg
A3 Title Block.dwg
A2 Title Block.dwg
A1 Title Block.dwg
A0 Title Block.dwg




อาจารย์โฟม
เรียนแล้วทำได้จริง รับรองผล 100%
089-6320232

วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2553

รีบๆมาเรียนซะก่อนจะหางานทำยากไปกว่านี้

วันนี้มีโอกาสให้รับลูกศิษย์ใหม่ครับ ว่าที่บัณฑิตหนุ่มแห่ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา ภาคพายัพ จ.เชียงใหม่

ก่อนหน้านี้เคยคุยโทรศัพท์กันมาแล้วเมื่อครั้งที่น้องเค้ายังเรียนอยู่ ใจความคือ น้องเค้าอยากเรียน AutoCAD แต่จะรอให้เรียนจบจาก มหาวิทยาลัยฯก่อน ค่อยมาเรียน

แล้ววันหนึ่งเมื่อเรียนจบ น้องเค้ารีบไปหางานทำ

ปรากฏว่า ไม่ได้ครับ ไม่มีที่ไหนเรียกสัมภาษณ์เลย

เค้าโทรกลับมาหาผมและคำแรกที่ได้ยินคือ "พี่ครับ ผมจะเรียน AutoCAD แล้ว มีช่วงว่างให้เรียนไหมครับ"

ผมเคยได้ยินคำพูดอย่างนี้มาหลายครั้งจนชินหู

เพราะผมจะบอกกล่าวกับน้องๆหลายๆคนไปแล้วว่า

"ใช้ AutoCAD ไม่คล่อง ไม่เก่ง หางานทำยากมาก"

วันนี้น้องคนนี้ก็เป็นอีกรายที่กระหืดกระหอบโทรหาผม แล้วพูประโยคเดิมคือ

"พี่ครับ ผมจะเรียน AutoCAD แล้ว มีช่วงว่างให้เรียนไหมครับ"


 

ทำไมต้องรอให้เรียนจบก่อน แล้วจึงค่อยมาเรียน AutoCAD?

ผมก็ไม่รู้เหมือนกัน

แต่อีกคำถามที่ตามมาคือ "แล้วทำไมต้องรีบไปเรียน AutoCAD?"

เอาง่ายๆ เพราะ ว่ามันคือความสามารถเดียวที่ ช่าง วิศวกร สถาปนิก หรือทุกคนที่อยู่ในวงการช่าง ต้องแสดงแนวคิดของตนด้วยแบบ

และAutoCAD เป็นโปรแกรมที่ได้รับความนิยมสูงสุดในโลก ครับ


 

อ.โฟม

วันพุธที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

วันจันทร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

ทำไมต้องเรียน AutoCAD

เหตุผลที่ต้องเรียน อาจต้องกำหนดขอบเขตไว้เฉพาะผู้ที่อยู่ในสายงานที่เกี่ยวข้อง หรือ ผู้สนใจ นะครับ

ทุกวันนี้โลกเราหมุนเร็วขึ้น(จริงๆแล้วยังคงหมุนรอบละ 24 ชั่วโมง หรือ 1วัน) การแข่งขันในทุกๆสาขาอาชีพมีมากขึ้น ดังนั้น หากบุคคลากรไม่มีความสามารถ หรือ คุณสมบัติไม่ครบที่จะรับเข้าทำงาน ก็จะให้ให้องค์กรนั้นๆ มีปัญหา ไม่สามารถแข่งขันกับคู่แข่งในวงการเดียวกันได้ เท่าที่สำรวจตรวจสอบมาจะพอสรุปได้ว่า ความสามารถต่อไปนี้ที่ควรจะมี หรือ ต้องมีในตัวผู้หวังความเจริญก้าวหน้าในขีวิตการทำงาน หรือ หากกำลังหางานทำ ทางช่างฯ และอุตสาหกรรม

คุณสมบัติพื้นฐานที่บรรดาช่างฯ นายช่าง(วิศวกร) สถาปนิก ฯลฯ

  1. มีความรู้ความสามารถในสาขาวิชาชีพของตน
  2. มีความรู้ความสามารถทางด้านคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ AutoCAD คล่องแคล่ว
  3. สามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และเขียนรายงาน
  4. มีความอดทนและสามารถทำงานภายได้ภาวะกดดันได้ดี
  5. มีความรับผิดชอบ
  6. เรียนรู้เร็ว
  7. สามารถทำงานเป็นทีมได้
  8. มีทั้งภาะผู้นำและผู้ตามที่ดี

ทีนี้เด็กๆในวัยเรียน หรือ วัยที่กำลังจะจบมหาวิทยาลัย หรือ สถาบันทางอาชีวศึกษาจะรู้ตัวกันหรือไม่ ว่าตลาดแรงงานต้องการอะไร และพวกเขาเหล่านั้นกำลังทำอะไรอยู่?

เราอาจต้องแนะแนวกันให้เข้มขึ้นอีก เพราะไม่ใช่ว่าผู้ประกอบการจะไม่อยากจ้างงาน หรือ อยากกดเงินเดือน เพราะทุกๆสถานประกอบการก็จำเป็นต้องมีพนักงาน หากแต่ว่า บัณฑิตที่เพิ่งสำเร็จการศึกษามาใหม่ๆ ไม่มีความสามารถพอที่จะร่วมงานในองค์กรนั้นๆได้ ไม่ได้เป็นเพราะสถาบันการศึกษามีมาตรฐานต่ำ แต่เป็นเพราะ ช่วงรอยต่อระหว่างการเรียน และ การทำงานขาดตัวประสานที่ดีต่างหาก

แล้วตัวประสานที่ว่านี้คืออะไรกัน?

ตัวประสานที่ว่านี้คือ การเรียนรู้ชีวิตการทำงาน หรือ การฝึกงานนั่นเอง

เด็กๆจะได้รู้ว่าการทำงานที่แท้จริงแล้วคืออะไร บริษัท หรือ องค์กรต้องการอะไร แล้วจะต้องเตรียมตัวอย่างไรกัน จึงจะมีความพร้อม พอที่จะเข้าทำงานได้

ฝากไว้เป็นข้อคิดนะครับ……ด้วยความปรารถนาดีครับ

อ.โฟม
รัฐวิสุทธิ์  กล่อมจิตต์

AutoCAD Trainer089-6320232
EXCELLENCE Logo1_2Inches

วันอังคารที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

ส่วนหนึ่งของงานสอน

น่าเสียดายที่ไม่ได้ถ่ายภาพไว้ตั้งแต่วันแรกที่เริ่มสอน แต่เท่าที่พอจะรวบรวมได้ ก็พอจะทำให้เรารำลึกความทรงจำ วันหนึ่ง เคยมาเีรียน AutoCAD กับอาจารย์โฟม ผมดีใจ ประทับใจ ที่เห็นศิษย์ทุกคน สามารถทำได้ และนำความสามารถไปพัฒนางานครับ

ขอให้ประสบความสำเร็จทุกๆคนครับ

อาจารย์โฟม
The Excellence Training @ Chiangmai
089-6320232

DSC09038
พี่โหน่ง ณัฐชา MD บริษัท ปรมี กรุ๊ป จำกัด เชียงใหม่

DSC09276 mallika furniture logo
น้องนิว นักธุรกิจหนุ่มนักเรียนนอกไฟแรง มุ่งมั่นพัฒนาการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ เครื่องเรือนเพื่อรองรับการขยายตัวของธุรกิจ และแข่งขันทางด้านออกแบบ
จาก มัลลิกา เฟอร์นิเจอร์ อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่

Prairie Engineering Logo DSC09282
น้องเป้ น้องป้อม และ พี่หมู
ทีมวิศวกร เครื่องกล
จาก บริษัท แพร์รี่ เอ็นจิเนียริ่ง อินเตอร์เนชันแนล(ประเทศไทย) จำกัด กรุงเทพมหานคร
Prairie Engineering Internation (THAILAND) Co.,Ltd. Bangkok

LTEC1
LTEC6
LTEC5
LTEC2
LTEC4
LTEC3

เป็นวิทยากรที่ บริษัท แอล ที อี ซี จำกัด (ในเครือฟุจิกุระ)


DSC04849 [320x200] DSC04953 [320x200]
คุณฟอร์ด ผู้จัดการโครงการบ้านจัดสรร


oceaneeringlogoblue-45h
DSC04954 [320x200] DSC04955 [320x200]
คุณ Husse วิศวกรขุดเจาะน้ำมันใต้ทะเล บ.โอเชียเนียริ่ง จก. ประเทศสวีเดน

DSC06526 [320x200] DSC06783 [320x200]
เป็นวิทยากร อบรมแก่น้องๆ จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา จ.เชียงใหม่
ที่ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน จ.เชียงใหม่

DSC06790 [320x200] DSC06791 [320x200]
เป็นวิทยากร อบรมแก่ช่างเทคนิคจาก 3 บริษัทชื่อดังของ จ.เชียงใหม่
1.พิบูลคอนกรีต
2.อินเด็กซ์ คอนสตรักชั่น
3.เชียงใหม่ คอนสตรักชั่น
ที่ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน จ.เชียงใหม่

DSC06795 [320x200] DSC06797 [320x200]
น้องโจ๊กเกอร์ วิทยาลัยสื่อฯ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

DSC08003 [320x200]
น้องทราย นักศึกษาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา จ.เชียงใหม่


DSC08624 [320x200]
น้องอัม และ มัดหมี่(มะเหมี่ยว)
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

DSC09073
น้องมด น้องซูกัส น้องสาลี่ และ น้องมะขาม
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

DSC09113 DSC09116
น้องครีม น้องโค๊ก และ น้องเคนคุง
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และ บัณฑิตหนุ่ม จากวิทยาลัยสื่อฯ(เจ้าของบริษัทรับเหมาก่อสร้าง)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ย้อนกลับไปเมื่อ AutoDesk จะเข้าตลาดหุ้นครับ

ก่อนที่ AutoDesk Inc. จะเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ของอเมริกา ในเดือน พฤษภาคม 1985 ผู้ก่อตั้งทั้งสองคือ John Walker และ Al Green ก็ได้ออก Road show หรือ dog and pony show ทั่วสหรัฐอเมริกา โดยโหมโรงปฐมฤกษ์ที่ San Francisco เป็นที่แรก จากนั้นก็ Los Angeles, Minneapolis, Chicago, Boston, New York, สุดท้ายที่ Baltimore

แต่เชื่อมั้ยครับ เค้าใช้ AutoCAD นี่แหละ ทำสื่อ นำเสนอ หรือ สไลด์โชว์ ที่เราทำกันด้วย Powerpoint กันครับ

สุดยอดจริงๆ

ลองๆดูที่มาของ บริษัทยักษ์ใหญ่ในวงการสร้างซอฟท์แวร์ออกแบบ เขียนแบบ ซึ่งเป็นที่สุดของโลกครับ

อาจารย์โฟม

The Excellence

excellenceLogo

 

 

 

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

frame25

11

13

14

15

16

17

18

19

20

21

a1

a2

a3

a4

a5

a6

a7

a8

a9

a10

a11

a12

a13

a14

a15

a16

a17

a18

a19 

a21

a22

a23

a24

AutoCAD Training By Mr.Foamm

สวัสดีครับ ท่านผู้สนใจศึกษา AutoCAD และยินดีต้อนรับสู่บ้านของเรา ผมทำเทรนนิ่ง การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อสนับสนุนงานออกแบบ และเขียนแบบที่ชื่อ AutoCAD นี้ เนื่องจากเล็งเห็นความสำคัญของ "ความสามารถของบุคคลากรในวงการงานช่าง ในบ้านเรา" เพราะ 99% ของการทำงานในบ้านเมืองเรา ใช้ AutoCAD แล้วถ้าหากเราอยากได้งานทำ แต่เขียนแบบด้วย AutoCAD ไม่เป็น แล้วใครจะรับเข้าทำงานจริงมั้ยครับ ทุกวันนี้ผมก็สอนให้กับผู้สนใจในราคาที่ถูกแสนถูก ก็ได้แต่หวังว่าจะช่วยยกระดับความสามารถให้แก่ผู้ที่รักความก้าวหน้าได้บ้าง และ ช่วยให้หลายๆคนได้งานทำ



เวลาเรียน



09:00 - 12:00น.

13:00 - 16:00น.

18:00 - 21:00น.


21:00 - 24:00น.

Contact us:

อาจารย์โฟม
Mr.Ratthawisutth Klomchitt
089-6320232 และ 085-0339995

cmat@hotmail.co.th

สถิติผู้เยี่ยมชม

free counters

จำนวนการดูหน้าเว็บรวม

คอร์ส AutoCAD 2D สำหรับผู้เริ่มต้น

คอร์ส AutoCAD 2D สำหรับผู้เริ่มต้น
เริ่มต้นเรียนรู้ด้วยความถูกต้อง เนื้อหามากมายที่ไม่มีที่ไหน ไม่มีในหนังสือ จากประสบการณ์ค้นความ23ปี